1. ดลฤทัย บุญชู, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, วิไลวรรณ ทองเจริญ, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ. ความสัมพันธ์ระหว่างอายุของผู้ดูแลภาระในการดูแลแรงสนับสนุนทางสังคมกับการปรับตัวของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2558; 35(2), 61-77.
2. ภารดี เหรียญทอง, วิไลวรรณ ทองเจริญ, นารีรัตน์ จิตรมนตรี, วิชชุดา เจริญกิจการ. ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมพลังอำนาจต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2558; 35(ฉบับพิเศษ), 143-57.
3. อทิตยา พรชัยเกตุ โอวยอง, อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์, ประภา ยุทธไตร. การสื่อสารเรื่องเพศระหว่าง วัยรุ่นกับเพื่อนสนิท: ความแตกต่างระหว่างหญิงและชาย. วารสารพยาบาลศาสตร์. 2558; 33(2), 8-18.
4.ประภา ยุทธไต,อุษา จันทร์แย้ม. ปัจจัยทำนายความตั้งใจไม่ดื่มสุราของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย.วารสารสาธารณสุขศาสตร์. 2558; 45(2), 171-83.
5. สุวรรณา สกประเสริฐ, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, พรทิตา วิศวาจารย์, ปิติพร สิริทิวากร. ผลของการใช้แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะ delirium ในผู้ป่วยสูงอายุโรงพยาบาลศิริราช. Journal of Nursing science. 2558; 33(1), 60-8.
6. ดลฤทัย บุญชู, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, วิไลวรรณ ทองเจริญ, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ. ความสัมพันธ์ระหว่างอายุของผู้ดูแล ภาระในการดูแล แรงสนับสนุนทางสังคมกับการปรับตัวของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2558; 35(2), 61-78.
7. กานต์ธิชา กำแพงแก้ว, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, วีนัส ลีฬหกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ปัจจัยเสี่ยงการรับรู้อาการเตือนและพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2558; 25(2), 40-56.
8. สุภาวดี เที่ยงธรรม, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, วีนัส ลีฬหกุล, วิมลวรรณ เหียงแก้ว. ความสัมพันธ์ระหว่างการมีกิจกรรมทางกาย ภาวะโภชนาการและภาวะซึมเศร้ากับภาวะกล้ามเนื้อลีบของผู้สูงอายุในชุมชน.วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 2558; 38(4), 1-10.
9. กรรณิการ์ ธุซ้อน, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, วีนัส ลีฬหกุล, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างความเข็มแข็งของครอบครัว การเผชิญปัญหาของครอบครัวและความผาสุกของสมาชิกครอบครัวผู้ให้การดูแลผู้สูงอายุที่มีความพิการทางกาย.วารสารพยาบาลทหารบก. 2558; 33(1), 60-8
10. ปวีณา มีขนอน, เบญจมาศ ศิริกมลเสถียร. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของนิสิตพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2558; 35(ฉบับพิเศษ), 29-44.
11.วิภา เพ็งเสงี่ยม, พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์, ปัญจภรณ์ ยะเกษม. ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการรับรู้พลังอำนาจและการปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 2558; 8(1), 152 – 65.
12.Sativa, L., Amatayakul, A., Thongtanunam, Y. The relationship between physical function, perceived falls risk factors, and environment and falls risk among elderly people in kota jambi district, jambi, indonesia. Journal of Health Research. 2015; 29(1): 37-43.
13.Ihwanudin, K. N., Amatayakul, A., Karuncharernpanit, S. Lifestyle modification effect on behavior change and physical conditions among hypertensive elderly in west java, Indonesia. Journal of Health Research. 2015; 29(1): 83-90.
14.Yulitasari, I. B., Amatayakul, A., and Karuncharernpanit, S. The relationship between perceived health status, activity of daily living, coping strategies, religiosity, and stress in the elderly at a public nursing home in yogyakarta, indonesia. Journal of Health Research. 2015; 29(1): 97-101.
15.Purba, S. W., Amatayakul, A., Wattanakul, B. The relationship between depression, social support and quality of life of stroke survivors in bukittinggi, indonesia. Journal of Health Research. 2015; 29(1): 109-16.