1. ศรัญญา จิตรใจฉ่ำ, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, วีนัส ลีฬหกุล, อรพรรณ โตสิงห์. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการเข้าถึงการได้รับยา rt- PAหลังเกิดอาการหลอดเลือดสมองขาดเลือดระยะเฉียบพลันในผู้สูงอายุ. วารสารแพทย์นาวี. 2561; 45(1), 85 – 105.
2. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, ชุติมา อัตถากรโกวิท. ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อภาวะสุขภาพ ความรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเมืองกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสยาม. 2561; 19(36), 49 – 65.
3. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, สุภาวดี เที่ยงธรรม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุในชุมชนที่มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อต่ำ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2561; 38(2), 110 – 23.
4. ชุติมา ทองวชิระ, สุชาดา โทผล, ณัฏฐ์พัชร เถียรวรกานต์, สมศักดิ์ เจริญพูล, จันทรกานต์ ทรงเดช, ณัฐธิดา กิจเนตร, และคนอื่นๆ. ชุมชนสุขภาวะบนพื้นฐานศักยภาพของชุมชนและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย: กรณีศึกษาชุมชน อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 2561; 5, 51 – 61.
5.เบญจมาศ ศิริกมลเสถียร, อัจฉรา สกุนตนิยม. ผลของการนวดด้วยตนเองต่อความปวดของผู้สูงอายุ ในชุมชนริมคลองหลอแหล เขตคันนายาว. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์.2561; 38(3), 92 – 101.